วันศุกร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ประกวดภาพถ่าย มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์ในเมืองไทย
เงื่อนไขในการประกวด
1. ผ้มีสิทธิ์ส่งเข้าประกวด
ประชาชนทั่วไป
2. เงื่อนไขประเภทภาพถ่าย
2.1 ประเภทภาพถ่าย Deep Sky Objects เช่น กาแล็กซี่, เนบิวลา, กระจุกดาว
2.2 ประเภทภาพถ่ายปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ เช่น ปรากฏการณ์สุริยุปราคา จันทรุปราคา ฝนดาวตกการบังกันของวัตถุในระบบสุริยะ การเกดคอนจังชั่นของวัตถุในระบบสุริยะ แตไมรวมถึงปรากฏการณ์การขึ้น-ตกของดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ การเกิดเฟสของดวงจันทร์ เป็นต้น ทั้งนีต้องไม่รวมถึงปรากฏการณ์ทางอุตุนิยมวิทยา เชน ฟ้าฝ่า เมฆสี หรือการเกดรุ้ง
2.3 ประเภทภาพถ่ายวัตถุในระบบสุริยะ เช่น ดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อย ดวงจันทร์่
2.4 ประเภทภาพถ่ายวิวธรรมชาติกับดาราศาสตร์ เช่น ภาพถ่ายที่ประกอบด้วยวัตถุบนพื้นโลกกับวัตถุบนท้องฟ้าที่เกี่ยวข้องกับดาราศาสตร์ แต่ไม่รวมถึงปรากฏการณ์ทางอุตุนิยมวิทยา เชน ฟ้าฝ่า เมฆสี หรือการเกิดรุ้ง
3. กติกาการส่งภาพเข้าประกวด
3.1. ภาพที่สงเข้าประกวดต้องเป็นภาพถ่ายที่เกี่ยวกับทางด้านดาราศาสตร์
ประเภทภาพถ่าย Digital
- ถ่ายด้วยกล้อง Digital SLR (Single Lens Reflect) หรืออุปกรณ์ทางดาราศาสตร์อื่นๆ เช่น CCD
- ขนาดของภาพสามารถขยายเป็นภาพสีหรือขาวดำ โดยมีความกว้างด้านใดด้านหนึ่งไม่ต่ำกว่า6 นิ้ว และไม่เกิน 18 นิ้ว และอัดภาพ
- ภาพถ่ายทุกภาพต้องเขียนวิธีและเทคนิคการถ่ายภาพ และเทคนิคที่ใช้ประมวลภาพถาย่(Image processing) (ดูรายละเอียดตามเอกสารแนบ)
- ส่งมอบภาพสีหรือขาวดำ จำนวน 2 ชุด พร้อม Digital File ที่มีคุณสมบัติที่สามารถนำไปอัดขยายภาพเพิ่มได้ ไมจำกัด pixel โดยบันทึกลงบนแผ่น CD
ประเภทภาพฟิล์ม
- ขนาดของภาพสามารถขยายเป็นภาพสีหรือขาวดำ โดยมีความกว้างด้านใดด้านหนึ่งไม่ต่ำกว่า 6 นิ้ว และไม่เกิน 18 นิ้ว และอัดภาพ
- ภาพถ่ายทุกภาพต้องเขียนวิธีและเทคนิคการถ่ายภาพ (ดูรายละเอียดตามเอกสารแนบ)
- ให้สแกนภาพจากฟิล์มให้เป็น Digital File ที่มีคุณสมบัติที่สามารถนำไปอัดขนาดภาพได้ ไม่จำกัด pixel
- ส่งมอบภาพสีหรือขาวดำ จำนวน 2 ชุด พร้อม Digital File ที่มีคุณสมบัติที่สามารถนำไปอัดขยายภาพเพิ่มได้ ไมจำกัด pixel โดยบันทึกลงบนแผ่น CD
3.2 ผู้ส่งภาพเข้าประกวดสามารถส่งภาพได้ทุกประเภทไม่จำกัดจำนวน
3.3 ผู้ส่งภาพเข้าประกวดมีสิทธิได้รับรางวัลทุกประเภท ประเภทละ 1 รางวัลเทานั้น
3.4 ภาพที่ส่งเข้าประกวดต้องไม่เป็นภาพที่เคยส่งเข้า ประกวดภาพถ่ายทางดาราศาสตร์ประจำปี 2552“มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์ในเมืองไทย” ในปีที่ผานมา ทางคณะกรรมการจะไม่รับพิจารณาในการตัดสิน
3.5 ผู้สงภาพเข้าประกวดต้องเป็นผู้ถ่ายภาพด้วยตนเอง ห้ามมิให้นำผลงานของผู้อื่นส่งเข้าประกวด
3.6 ผู้ส่งเข้าประกวดสามารถใช้เทคนิคการถายภาพได้อยางอิสระ กรณีที่ถ่ายด้วยกล้องดิจิตอล ให้ส่งรูปที่ Process ที่เสร็จแล้ว
3.7 ผู้ส่งภาพเข้าประกวดสามารถส่งภาพถ่ายที่เก็บไว้ในอดีตได้
4. วิธีการส่งภาพเข้าประกวด
4.1 ส่งด้วยตัวเองได้ที่ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อาคารเชียงใหม่ศิริพานิช เลขที่ 191 ถ. ห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ. เมือง จ.เชียงใหม่ 50200
หมาเลขโทรศัพท์ 0-5322-5569
หมายเลขโทรสาร 0-5322-5524
ติดต่อสอบถามคุณณรกมล ฑิฆัมภรธีรกุลว์ เจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์
4.2 ส่งทางไปรษณีย์่โดยวงเล็บมุมซองว่า โครงการประกวดภาพถ่ายทางดาราศาสตร์ ประจำปี 2553
“มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์ในเมืองไทย่” ตามที่อยูข้างต้น
5. เงื่อนไขและข้อกำหนดอื่นๆ
5.1 ผู้ส่งภาพเข้าประกวดยินยอมให้สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาตินำผลงานทุกภาพที่ส่งเข้าประกวดออกเผยแพร่ในการจัดนิทรรศการ หรือใช้ในกิจกรรมทางวิชาการของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ และประชาสัมพันธ์งานทางด้านดาราศาสตร์อันจะเกิดประโยชน์แก่เยาวชนและประชาชนต่อไป
5.2 การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด ผู้สงภาพเข้าประกวดไม่มีสิทธิอุทธรณ์ใดๆ ทั้งสิ้น
5.3 พนักงาน ลูกจ้าง เจ้าหน้าที่ของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ และคณะกรรมการตัดสิน ไม่มีสิทธิ์ส่งภาพผลงานเข้าประกวด
5.4 ผลงานที่สงเข้าประกวดทุกชิ้นตกเป็นกรรมสิทธิ์ของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติโดยสถาบันฯไม่ต้องส่งคืนให้เจ้าของผลงาน
6. รางวัล
6.1 ประเภทภาพถ่าย Deep Sky Objects
- รางวัลชนะเลิศ พร้อมโล่เกียรติยศจาก
ฯพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 20,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 พร้อมเกียรติบัตร 15,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 พร้อมเกียรติบัตร 10,000 บาท
6.2 ประเภทภาพถ่ายปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
- รางวัลชนะเลิศ พร้อมโล่เกียรติยศจาก
ฯพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 20,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 พร้อมเกียรติบัตร 15,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 พร้อมเกียรติบัตร 10,000 บาท
6.3 ประเภทภาพถ่ายวัตถุในระบบสุริยะ
- รางวัลชนะเลิศ พร้อมโล่เกียรติยศจาก
ฯพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 20,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 พร้อมเกียรติบัตร 15,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 พร้อมเกียรติบัตร 10,000 บาท
6.4 ประเภทภาพถ่ายวิวธรรมชาติกับดาราศาสตร์
- รางวัลชนะเลิศ พร้อมโล่เกียรติยศจาก
ฯพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 20,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 พร้อมเกียรติบัตร 15,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 พร้อมเกียรติบัตร 10,000 บาท
เงื่อนไขในการประกวด
1. ผ้มีสิทธิ์ส่งเข้าประกวด
ประชาชนทั่วไป
2. เงื่อนไขประเภทภาพถ่าย
2.1 ประเภทภาพถ่าย Deep Sky Objects เช่น กาแล็กซี่, เนบิวลา, กระจุกดาว
2.2 ประเภทภาพถ่ายปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ เช่น ปรากฏการณ์สุริยุปราคา จันทรุปราคา ฝนดาวตกการบังกันของวัตถุในระบบสุริยะ การเกดคอนจังชั่นของวัตถุในระบบสุริยะ แตไมรวมถึงปรากฏการณ์การขึ้น-ตกของดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ การเกิดเฟสของดวงจันทร์ เป็นต้น ทั้งนีต้องไม่รวมถึงปรากฏการณ์ทางอุตุนิยมวิทยา เชน ฟ้าฝ่า เมฆสี หรือการเกดรุ้ง
2.3 ประเภทภาพถ่ายวัตถุในระบบสุริยะ เช่น ดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อย ดวงจันทร์่
2.4 ประเภทภาพถ่ายวิวธรรมชาติกับดาราศาสตร์ เช่น ภาพถ่ายที่ประกอบด้วยวัตถุบนพื้นโลกกับวัตถุบนท้องฟ้าที่เกี่ยวข้องกับดาราศาสตร์ แต่ไม่รวมถึงปรากฏการณ์ทางอุตุนิยมวิทยา เชน ฟ้าฝ่า เมฆสี หรือการเกิดรุ้ง
3. กติกาการส่งภาพเข้าประกวด
3.1. ภาพที่สงเข้าประกวดต้องเป็นภาพถ่ายที่เกี่ยวกับทางด้านดาราศาสตร์
ประเภทภาพถ่าย Digital
- ถ่ายด้วยกล้อง Digital SLR (Single Lens Reflect) หรืออุปกรณ์ทางดาราศาสตร์อื่นๆ เช่น CCD
- ขนาดของภาพสามารถขยายเป็นภาพสีหรือขาวดำ โดยมีความกว้างด้านใดด้านหนึ่งไม่ต่ำกว่า6 นิ้ว และไม่เกิน 18 นิ้ว และอัดภาพ
- ภาพถ่ายทุกภาพต้องเขียนวิธีและเทคนิคการถ่ายภาพ และเทคนิคที่ใช้ประมวลภาพถาย่(Image processing) (ดูรายละเอียดตามเอกสารแนบ)
- ส่งมอบภาพสีหรือขาวดำ จำนวน 2 ชุด พร้อม Digital File ที่มีคุณสมบัติที่สามารถนำไปอัดขยายภาพเพิ่มได้ ไมจำกัด pixel โดยบันทึกลงบนแผ่น CD
ประเภทภาพฟิล์ม
- ขนาดของภาพสามารถขยายเป็นภาพสีหรือขาวดำ โดยมีความกว้างด้านใดด้านหนึ่งไม่ต่ำกว่า 6 นิ้ว และไม่เกิน 18 นิ้ว และอัดภาพ
- ภาพถ่ายทุกภาพต้องเขียนวิธีและเทคนิคการถ่ายภาพ (ดูรายละเอียดตามเอกสารแนบ)
- ให้สแกนภาพจากฟิล์มให้เป็น Digital File ที่มีคุณสมบัติที่สามารถนำไปอัดขนาดภาพได้ ไม่จำกัด pixel
- ส่งมอบภาพสีหรือขาวดำ จำนวน 2 ชุด พร้อม Digital File ที่มีคุณสมบัติที่สามารถนำไปอัดขยายภาพเพิ่มได้ ไมจำกัด pixel โดยบันทึกลงบนแผ่น CD
3.2 ผู้ส่งภาพเข้าประกวดสามารถส่งภาพได้ทุกประเภทไม่จำกัดจำนวน
3.3 ผู้ส่งภาพเข้าประกวดมีสิทธิได้รับรางวัลทุกประเภท ประเภทละ 1 รางวัลเทานั้น
3.4 ภาพที่ส่งเข้าประกวดต้องไม่เป็นภาพที่เคยส่งเข้า ประกวดภาพถ่ายทางดาราศาสตร์ประจำปี 2552“มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์ในเมืองไทย” ในปีที่ผานมา ทางคณะกรรมการจะไม่รับพิจารณาในการตัดสิน
3.5 ผู้สงภาพเข้าประกวดต้องเป็นผู้ถ่ายภาพด้วยตนเอง ห้ามมิให้นำผลงานของผู้อื่นส่งเข้าประกวด
3.6 ผู้ส่งเข้าประกวดสามารถใช้เทคนิคการถายภาพได้อยางอิสระ กรณีที่ถ่ายด้วยกล้องดิจิตอล ให้ส่งรูปที่ Process ที่เสร็จแล้ว
3.7 ผู้ส่งภาพเข้าประกวดสามารถส่งภาพถ่ายที่เก็บไว้ในอดีตได้
4. วิธีการส่งภาพเข้าประกวด
4.1 ส่งด้วยตัวเองได้ที่ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อาคารเชียงใหม่ศิริพานิช เลขที่ 191 ถ. ห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ. เมือง จ.เชียงใหม่ 50200
หมาเลขโทรศัพท์ 0-5322-5569
หมายเลขโทรสาร 0-5322-5524
ติดต่อสอบถามคุณณรกมล ฑิฆัมภรธีรกุลว์ เจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์
4.2 ส่งทางไปรษณีย์่โดยวงเล็บมุมซองว่า โครงการประกวดภาพถ่ายทางดาราศาสตร์ ประจำปี 2553
“มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์ในเมืองไทย่” ตามที่อยูข้างต้น
5. เงื่อนไขและข้อกำหนดอื่นๆ
5.1 ผู้ส่งภาพเข้าประกวดยินยอมให้สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาตินำผลงานทุกภาพที่ส่งเข้าประกวดออกเผยแพร่ในการจัดนิทรรศการ หรือใช้ในกิจกรรมทางวิชาการของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ และประชาสัมพันธ์งานทางด้านดาราศาสตร์อันจะเกิดประโยชน์แก่เยาวชนและประชาชนต่อไป
5.2 การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด ผู้สงภาพเข้าประกวดไม่มีสิทธิอุทธรณ์ใดๆ ทั้งสิ้น
5.3 พนักงาน ลูกจ้าง เจ้าหน้าที่ของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ และคณะกรรมการตัดสิน ไม่มีสิทธิ์ส่งภาพผลงานเข้าประกวด
5.4 ผลงานที่สงเข้าประกวดทุกชิ้นตกเป็นกรรมสิทธิ์ของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติโดยสถาบันฯไม่ต้องส่งคืนให้เจ้าของผลงาน
6. รางวัล
6.1 ประเภทภาพถ่าย Deep Sky Objects
- รางวัลชนะเลิศ พร้อมโล่เกียรติยศจาก
ฯพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 20,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 พร้อมเกียรติบัตร 15,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 พร้อมเกียรติบัตร 10,000 บาท
6.2 ประเภทภาพถ่ายปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
- รางวัลชนะเลิศ พร้อมโล่เกียรติยศจาก
ฯพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 20,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 พร้อมเกียรติบัตร 15,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 พร้อมเกียรติบัตร 10,000 บาท
6.3 ประเภทภาพถ่ายวัตถุในระบบสุริยะ
- รางวัลชนะเลิศ พร้อมโล่เกียรติยศจาก
ฯพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 20,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 พร้อมเกียรติบัตร 15,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 พร้อมเกียรติบัตร 10,000 บาท
6.4 ประเภทภาพถ่ายวิวธรรมชาติกับดาราศาสตร์
- รางวัลชนะเลิศ พร้อมโล่เกียรติยศจาก
ฯพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 20,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 พร้อมเกียรติบัตร 15,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 พร้อมเกียรติบัตร 10,000 บาท
เงื่อนไขในการประกวด
1. ผ้มีสิทธิ์ส่งเข้าประกวด
ประชาชนทั่วไป
2. เงื่อนไขประเภทภาพถ่าย
2.1 ประเภทภาพถ่าย Deep Sky Objects เช่น กาแล็กซี่, เนบิวลา, กระจุกดาว
2.2 ประเภทภาพถ่ายปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ เช่น ปรากฏการณ์สุริยุปราคา จันทรุปราคา ฝนดาวตกการบังกันของวัตถุในระบบสุริยะ การเกดคอนจังชั่นของวัตถุในระบบสุริยะ แตไมรวมถึงปรากฏการณ์การขึ้น-ตกของดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ การเกิดเฟสของดวงจันทร์ เป็นต้น ทั้งนีต้องไม่รวมถึงปรากฏการณ์ทางอุตุนิยมวิทยา เชน ฟ้าฝ่า เมฆสี หรือการเกดรุ้ง
2.3 ประเภทภาพถ่ายวัตถุในระบบสุริยะ เช่น ดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อย ดวงจันทร์่
2.4 ประเภทภาพถ่ายวิวธรรมชาติกับดาราศาสตร์ เช่น ภาพถ่ายที่ประกอบด้วยวัตถุบนพื้นโลกกับวัตถุบนท้องฟ้าที่เกี่ยวข้องกับดาราศาสตร์ แต่ไม่รวมถึงปรากฏการณ์ทางอุตุนิยมวิทยา เชน ฟ้าฝ่า เมฆสี หรือการเกิดรุ้ง
3. กติกาการส่งภาพเข้าประกวด
3.1. ภาพที่สงเข้าประกวดต้องเป็นภาพถ่ายที่เกี่ยวกับทางด้านดาราศาสตร์
ประเภทภาพถ่าย Digital
- ถ่ายด้วยกล้อง Digital SLR (Single Lens Reflect) หรืออุปกรณ์ทางดาราศาสตร์อื่นๆ เช่น CCD
- ขนาดของภาพสามารถขยายเป็นภาพสีหรือขาวดำ โดยมีความกว้างด้านใดด้านหนึ่งไม่ต่ำกว่า6 นิ้ว และไม่เกิน 18 นิ้ว และอัดภาพ
- ภาพถ่ายทุกภาพต้องเขียนวิธีและเทคนิคการถ่ายภาพ และเทคนิคที่ใช้ประมวลภาพถาย่(Image processing) (ดูรายละเอียดตามเอกสารแนบ)
- ส่งมอบภาพสีหรือขาวดำ จำนวน 2 ชุด พร้อม Digital File ที่มีคุณสมบัติที่สามารถนำไปอัดขยายภาพเพิ่มได้ ไมจำกัด pixel โดยบันทึกลงบนแผ่น CD
ประเภทภาพฟิล์ม
- ขนาดของภาพสามารถขยายเป็นภาพสีหรือขาวดำ โดยมีความกว้างด้านใดด้านหนึ่งไม่ต่ำกว่า 6 นิ้ว และไม่เกิน 18 นิ้ว และอัดภาพ
- ภาพถ่ายทุกภาพต้องเขียนวิธีและเทคนิคการถ่ายภาพ (ดูรายละเอียดตามเอกสารแนบ)
- ให้สแกนภาพจากฟิล์มให้เป็น Digital File ที่มีคุณสมบัติที่สามารถนำไปอัดขนาดภาพได้ ไม่จำกัด pixel
- ส่งมอบภาพสีหรือขาวดำ จำนวน 2 ชุด พร้อม Digital File ที่มีคุณสมบัติที่สามารถนำไปอัดขยายภาพเพิ่มได้ ไมจำกัด pixel โดยบันทึกลงบนแผ่น CD
3.2 ผู้ส่งภาพเข้าประกวดสามารถส่งภาพได้ทุกประเภทไม่จำกัดจำนวน
3.3 ผู้ส่งภาพเข้าประกวดมีสิทธิได้รับรางวัลทุกประเภท ประเภทละ 1 รางวัลเทานั้น
3.4 ภาพที่ส่งเข้าประกวดต้องไม่เป็นภาพที่เคยส่งเข้า ประกวดภาพถ่ายทางดาราศาสตร์ประจำปี 2552“มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์ในเมืองไทย” ในปีที่ผานมา ทางคณะกรรมการจะไม่รับพิจารณาในการตัดสิน
3.5 ผู้สงภาพเข้าประกวดต้องเป็นผู้ถ่ายภาพด้วยตนเอง ห้ามมิให้นำผลงานของผู้อื่นส่งเข้าประกวด
3.6 ผู้ส่งเข้าประกวดสามารถใช้เทคนิคการถายภาพได้อยางอิสระ กรณีที่ถ่ายด้วยกล้องดิจิตอล ให้ส่งรูปที่ Process ที่เสร็จแล้ว
3.7 ผู้ส่งภาพเข้าประกวดสามารถส่งภาพถ่ายที่เก็บไว้ในอดีตได้
4. วิธีการส่งภาพเข้าประกวด
4.1 ส่งด้วยตัวเองได้ที่ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อาคารเชียงใหม่ศิริพานิช เลขที่ 191 ถ. ห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ. เมือง จ.เชียงใหม่ 50200
หมาเลขโทรศัพท์ 0-5322-5569
หมายเลขโทรสาร 0-5322-5524
ติดต่อสอบถามคุณณรกมล ฑิฆัมภรธีรกุลว์ เจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์
4.2 ส่งทางไปรษณีย์่โดยวงเล็บมุมซองว่า โครงการประกวดภาพถ่ายทางดาราศาสตร์ ประจำปี 2553
“มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์ในเมืองไทย่” ตามที่อยูข้างต้น
5. เงื่อนไขและข้อกำหนดอื่นๆ
5.1 ผู้ส่งภาพเข้าประกวดยินยอมให้สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาตินำผลงานทุกภาพที่ส่งเข้าประกวดออกเผยแพร่ในการจัดนิทรรศการ หรือใช้ในกิจกรรมทางวิชาการของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ และประชาสัมพันธ์งานทางด้านดาราศาสตร์อันจะเกิดประโยชน์แก่เยาวชนและประชาชนต่อไป
5.2 การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด ผู้สงภาพเข้าประกวดไม่มีสิทธิอุทธรณ์ใดๆ ทั้งสิ้น
5.3 พนักงาน ลูกจ้าง เจ้าหน้าที่ของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ และคณะกรรมการตัดสิน ไม่มีสิทธิ์ส่งภาพผลงานเข้าประกวด
5.4 ผลงานที่สงเข้าประกวดทุกชิ้นตกเป็นกรรมสิทธิ์ของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติโดยสถาบันฯไม่ต้องส่งคืนให้เจ้าของผลงาน
6. รางวัล
6.1 ประเภทภาพถ่าย Deep Sky Objects
- รางวัลชนะเลิศ พร้อมโล่เกียรติยศจาก
ฯพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 20,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 พร้อมเกียรติบัตร 15,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 พร้อมเกียรติบัตร 10,000 บาท
6.2 ประเภทภาพถ่ายปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
- รางวัลชนะเลิศ พร้อมโล่เกียรติยศจาก
ฯพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 20,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 พร้อมเกียรติบัตร 15,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 พร้อมเกียรติบัตร 10,000 บาท
6.3 ประเภทภาพถ่ายวัตถุในระบบสุริยะ
- รางวัลชนะเลิศ พร้อมโล่เกียรติยศจาก
ฯพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 20,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 พร้อมเกียรติบัตร 15,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 พร้อมเกียรติบัตร 10,000 บาท
6.4 ประเภทภาพถ่ายวิวธรรมชาติกับดาราศาสตร์
- รางวัลชนะเลิศ พร้อมโล่เกียรติยศจาก
ฯพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 20,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 พร้อมเกียรติบัตร 15,000 บาท
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 พร้อมเกียรติบัตร 10,000 บาท
สามารถดาวโหลดใบสมัครได้ที่
http://www.narit.or.th/downloads/pdf/image2553.pdf
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น